ภาพการประชุมสัมมนา
เรื่อง การจัดทำทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๑
วันจันทร์ที่ ๒๑ – วันอังคารที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๘
ณ ห้องประชุม PLEASURE BALLROOM ชั้น ๒
โรงแรมบียอนด์ สวีท จังหวัดกรุงเทพมหานคร
กำหนดการประชุมสัมมนา
เรื่อง การจัดทำทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๑
วันจันทร์ที่ ๒๑ – วันอังคารที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๘
ณ ห้องประชุม PLEASURE BALLROOM ชั้น ๒
โรงแรมบียอนด์ สวีท จังหวัดกรุงเทพมหานครวันจันทร์ที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๘๐๘.๓๐ – ๐๙.๓๐ น. ลงทะเบียน๐๙.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. พิธีเปิดการประชุม
- ศาสตราจารย์พิเศษ คุณหญิงแม้นมาส ชวลิต ประธานคณะกรรมการ
แห่งชาติว่าด้วยแผนงานความทรงจำแห่งโลก กล่าวต้อนรับและชี้แจง
ความเป็นมาของการจัดโครงการ จัดประชุมสัมมนา - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ กำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ รองประธานคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยการศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
เปิดการประชุมสัมมนา เรื่องการจัดทำทะเบียนเอกสารมรดก
ความทรงจำแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๑ และเปิดนิทรรศการ เรื่อง
เอกสารขึ้นทะเบียนมรดกความทรงจำแห่งโลกของประเทศไทย - รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ กำจร ตติยกวี ปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ รองประธานคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยการศึกษา
วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
มอบประกาศนียบัตรแก่หน่วยงานและบุคคลที่เสนอเอกสารและ
ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำแห่งชาติ
๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง๑๐.๔๕ – ๑๑.๔๕ น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “มรดกทางวัฒนธรรมอาเซียน”โดย นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม๑๑.๔๕ – ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. การอภิปรายเรื่องการดำเนินงานเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลก เกณฑ์การ
ขึ้นทะเบียนและการกรอกแบบกรอกข้อความเพื่อเสนอขึ้นทะเบียนเอกสารมรดก
ความทรงจำแห่งชาติ และเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลก
โดย : ดร. ม.ร.ว. รุจยา อาภากร และ ดร. ประจักษ์ วัฒนานุสิทธิ์๑๔.๓๐ – ๑๕.๐๐ น. พักรับประทานอาหารว่าง๑๕.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. การอภิปรายตัวอย่างการขึ้นทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งชาติ
และเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลก
เรื่อง บันทึกพระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยา
พ.ศ. ๒๔๐๔ – พ.ศ. ๒๔๕๐
ผู้เสนอ : นายวิมล ปิงเมืองเหล็ก
ผู้วิพากษ์ : นางสาวขนิษฐา วงศ์พานิชแผนงานของยูเนสโกว่าด้วยความทรงจำแห่งโลกแผนงานของยูเนสโกว่าด้วยความทรงจำแห่งโลก (Memory of the World Program) เป็นแผนงานที่องค์การยูเนสโก กำหนดให้มีขึ้น เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2535 โดยการเชิญผู้เชี่ยวชาญ ด้านสารนิเทศจากองค์กรภาครัฐ และภาคเอกชนจากทั่วโลก มาประชุมหารือร่วมกัน แผนงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลก ที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดๆ และไม่ว่าจะผลิตในประเทศใด ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลาย ทั้งในด้านของวัฒนธรรม และความคิดริเริ่มของมนุษยชาติThe Memory of the World Programme or the UNESCO Plan on the World Memory was formulated by UNESCO on June 22, 1992, during which information experts from public and private sectors from around the world were invited to discuss the issue. The plan has as its objective to conserve and publicize world heritage or wisdoms, recorded in any form of writing and in any country. They are considered sources of thinking, knowledge and experiences that can reflect the diversity of cultures and initiatives of mankind.